1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 35.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -11.7 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.7 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —9.8 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -10.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนลดลงร้อยละ -40.9
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ -31.3 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -29.1 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -23.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ลดลงร้อยละ -26.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 430.5
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ ---------------2548-------------- -----2549----- Q2/49 Q2/49
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/49 Q2/48
ISIC:191ISIC 1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
-การผลิต 70.82 111.37 98.7 93.87 72.78 98.3 35.1 -11.7
-การส่งสินค้า 39.41 61.21 56.83 54.6 42.57 55.23 29.7 -9.8
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 288.8 313.73 279.17 235.05 207.37 185.56 -10.5 -40.9
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-การผลิต 64.96 79.05 64.79 45.31 81.17 56.02 -31.3 -29.1
-การส่งสินค้า 69.55 77.31 54.12 40.3 74.31 56.75 -23.6 -26.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 69.98 51.6 99.28 220.44 241.07 273.72 13.5 430.5
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-การผลิต 114.63 102.81 103.66 112.47 127.27 109.93 -13.6 6.9
-การส่งสินค้า 115.53 102.61 101.17 109.04 125.11 110.39 -11.8 7.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 84.23 69.27 66.03 76.58 71.21 57.63 -19.1 -16.8
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื่องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —13.6 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -11.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —19.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -
16.8
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม
ขึ้น คือ รองเท้ากีฬาและรองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 และ0.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าอื่นๆ ส่วนประกอบของรองเท้า และ.รองเท้าแตะ
ลดลงร้อยละ -30.9 -10.5 และ -6.2 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ------------2548------------- ---2549--- อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q2(49)/Q2(48) Q2(49)/Q1(49)
รองเท้าและชิ้นส่วน 228.2 222.5 230.2 219.2 226.8 227.7 2.3 0.4
1.รองเท้ากีฬา 131.7 136.9 138.9 135.2 136.1 144.3 5.4 6
2.รองเท้าแตะ 25.9 21.2 20.9 18.7 19.5 18.3 -13.7 -6.2
3.รองเท้าหนัง 51 46.7 53.3 46.4 48.6 48.7 4.3 0.2
4.รองเท้าอื่นๆ 16 14 13.6 15.1 18.8 13 -7.1 -30.9
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 4.2 3 3.6 3.9 3.8 3.4 13.3 -10.5
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 49.8 57.5 54.4 47.9 48.2 49.4 -14.1 2.5
1.กระเป๋าเดินทาง 18 25.5 21.1 16.2 17.7 19 -25.5 7.3
2.กระเป๋าถือ 10.5 10 10.5 8.8 8.8 9.2 -8 4.5
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.3 5.3 5.7 6 5.5 4.8 -9.4 -12.7
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 16 16.8 17 16.9 16.2 16.5 -1.8 1.9
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 119.9 113.4 117.5 106.4 108.4 108.8 -4.1 0.4
1.หนังโคกระบือฟอก 20 38 41.6 38.2 37.5 37.7 -0.8 0.5
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8.5 7.4 8.5 7.4 8 6.8 -8.1 -15
3.ถุงมือหนัง 14.5 11.5 11.1 10.9 17.2 12.3 7 -28.5
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.1 1 1 1.2 1.2 1.1 10 -8.3
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 75.8 55.5 55.3 48.8 44.5 50.8 -8.5 14.2
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ส่วนประกอบรองเท้า รองเท้ากีฬา และรองเท้า
หนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.3 5.4 และ 4.3 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ และรองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -13.7
และ -7.1
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.71 21.18 และ 20.0
ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น และเดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 32.6 11.3 6.5 5.7
และ 4.9 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ผลิตภัณฑ์ที่
เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือ และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 4.5 และ 1.9 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษ
สตางค์ ลดลงร้อยละ -12.7
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -14.1 ลดลงทุกผลิตภัณฑ์ คือ กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าใส่เศษสตางค์ กระเป๋า
ถือ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -25.5 -9.4 -8.0 และ -1.8 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ฝรั่งเศส แคนาดา และ
อิตาลี เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.3 19.1 และ 18.8 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และฝรั่งเศส
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ
0.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 และ 14.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ถุงมือหนัง
ของเล่นสำหรับเลี้ยง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ -28.5 -15.0 และ -8.3
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -4.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ ของเล่นสำหรับสัตว์ และ
หนังโคกระบือฟอก ลดลงร้อยละ -8.5 -8.1 และ -0.8 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และถุงมือหนัง เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.0 และ7.0 ตลาดส่งออกสำคัญที่ลดลง ได้แก่ เยอรมนี ไต้หวัน มาเลเซีย และเวียดนาม ลดลงร้อยละ -50.8 -45.5 -
39.5 และ -28.7 51.2 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม อินโดนีเซีย และจีนมีสัดส่วนตลาดร้อยละ 29.9
14.9 11.3 8.6 และ 8.4 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.6 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย จีน อิตาลี และ อุรุกวัย มีสัดส่วนร้อย
ละ 11.9 10.5 7.3 7.1 และ 6.8 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ---2548--- ---2549--- อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q1 Q2 Q2(49)/Q2(48) Q2(49)/Q1(49)
หนังดิบและหนังฟอก 126.9 95.1 108.3 113.7 19.6 5
รองเท้า 18.4 12.3 24 18.6 51.2 -22.5
รองเท้ากีฬา* 3.2 na 4.9 na - -
รองเท้าหนัง 4.7 4.3 4.4 4.3 0 -2.3
รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 1 1.5 1.3 1.2 -20 -7.7
รองเท้าอื่น ๆ 9.6 9.1 13.5 17.9 96.7 32.6
กระเป๋า 16.9 13.1 19.4 16.7 27.5 -13.9
กระเป๋าเดินทาง 4.6 4.5 4.7 5.4 20 14.9
กระเป๋าถืออื่น ๆ 12.3 8.6 14.8 11.2 30.2 -24.3
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
* ข้อมูลจากกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศมีการปรับปรุง
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -22.5 เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.2 แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และอินเดีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 46.2
10.8 7.8 6.8 และ 5.6 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ -13.9 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลีฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และฮ่องกง มีสัด
ส่วนนำเข้าร้อยละ 41.8 21.6 13.6 4.1 และ 3.1 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
กล่าวโดยสรุปอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิตหนังฟอกเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนโดยเป็นผลมาจากการนำเข้า
หนังดิบมาผลิตเป็นหนังฟอกและผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตกระเป๋าลดลงจากไตรมาสก่อนเนื่องยังคงมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเหลืออยู่
มากเช่นเดียวกับการผลิตรองเท้าก็ลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากการส่งออกลดลง
สำหรับแนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยยังมีแนวโน้มการส่งออกที่ลดลง เนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าเช่นสหรัฐ
อเมริกา กลุ่มประเทศยุโรปและญี่ปุ่นได้ลดการนำเข้าสินค้าจากไทยเนื่องจากมีราคาสูงขึ้นตามค่าเงินบาทที่แข็งขึ้น อีกทั้งประเทศคู่แข่งที่สำคัญคือ
เวียตนาม จีน และอินเดียได้มีต่างชาติเข้าไปลงทุนมากขึ้น ทำให้สินค้าส่งออกจากไทยลดลง ส่วนการนำเข้าของไทยในสินค้าสำเร็จรูปในกลุ่มนี้ยังมี
อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (รองเท้าและกระเป๋า) แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คือ จีน จึงควรที่จะต้องมีมาตรการแก้ไขประเด็นดัง
กล่าวเพื่อมารองรับการนำเข้าสินค้าที่มีคุณภาพต่ำที่ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตและผู้บริโภคในประเทศ
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ในช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 35.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -11.7 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.7 เมื่อเทียบกับ
ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —9.8 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -10.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียว
กันของปีก่อนลดลงร้อยละ -40.9
- กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ -31.3 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -29.1 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -23.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ลดลงร้อยละ -26.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อย
ละ 430.5
ดัชนีอุตสาหกรรม
รายการ ---------------2548-------------- -----2549----- Q2/49 Q2/49
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2* Q1/49 Q2/48
ISIC:191ISIC 1911 การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก
-การผลิต 70.82 111.37 98.7 93.87 72.78 98.3 35.1 -11.7
-การส่งสินค้า 39.41 61.21 56.83 54.6 42.57 55.23 29.7 -9.8
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 288.8 313.73 279.17 235.05 207.37 185.56 -10.5 -40.9
ISIC:1912 การผลิตกระเป๋าเดินทางกระเป๋าถือและสิ่งที่คล้ายกัน อานม้าและเครื่องเทียมลาก
-การผลิต 64.96 79.05 64.79 45.31 81.17 56.02 -31.3 -29.1
-การส่งสินค้า 69.55 77.31 54.12 40.3 74.31 56.75 -23.6 -26.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 69.98 51.6 99.28 220.44 241.07 273.72 13.5 430.5
ISIC:1920 การผลิตรองเท้า
-การผลิต 114.63 102.81 103.66 112.47 127.27 109.93 -13.6 6.9
-การส่งสินค้า 115.53 102.61 101.17 109.04 125.11 110.39 -11.8 7.6
-สินค้าสำเร็จรูปคงคลัง 84.23 69.27 66.03 76.58 71.21 57.63 -19.1 -16.8
ที่มา : ศูนย์สารสนเทศอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ฐานเฉลี่ยปี 2543 และเป็นดัชนีที่ยังไม่ได้ปรับผลกระทบของฤดูกาล
* ตัวเลขเบื่องต้น
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —13.6 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ -11.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —19.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -
16.8
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่ม
ขึ้น คือ รองเท้ากีฬาและรองเท้าหนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 และ0.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าอื่นๆ ส่วนประกอบของรองเท้า และ.รองเท้าแตะ
ลดลงร้อยละ -30.9 -10.5 และ -6.2 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ------------2548------------- ---2549--- อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q2(49)/Q2(48) Q2(49)/Q1(49)
รองเท้าและชิ้นส่วน 228.2 222.5 230.2 219.2 226.8 227.7 2.3 0.4
1.รองเท้ากีฬา 131.7 136.9 138.9 135.2 136.1 144.3 5.4 6
2.รองเท้าแตะ 25.9 21.2 20.9 18.7 19.5 18.3 -13.7 -6.2
3.รองเท้าหนัง 51 46.7 53.3 46.4 48.6 48.7 4.3 0.2
4.รองเท้าอื่นๆ 16 14 13.6 15.1 18.8 13 -7.1 -30.9
5.ส่วนประกอบของรองเท้า 4.2 3 3.6 3.9 3.8 3.4 13.3 -10.5
เครื่องใช้สำหรับเดินทาง 49.8 57.5 54.4 47.9 48.2 49.4 -14.1 2.5
1.กระเป๋าเดินทาง 18 25.5 21.1 16.2 17.7 19 -25.5 7.3
2.กระเป๋าถือ 10.5 10 10.5 8.8 8.8 9.2 -8 4.5
3.กระเป๋าใส่เศษสตางค์ 5.3 5.3 5.7 6 5.5 4.8 -9.4 -12.7
4.เครื่องเดินทางอื่นๆ 16 16.8 17 16.9 16.2 16.5 -1.8 1.9
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด 119.9 113.4 117.5 106.4 108.4 108.8 -4.1 0.4
1.หนังโคกระบือฟอก 20 38 41.6 38.2 37.5 37.7 -0.8 0.5
2.ของเล่นสำหรับสัตว์เลี้ยง 8.5 7.4 8.5 7.4 8 6.8 -8.1 -15
3.ถุงมือหนัง 14.5 11.5 11.1 10.9 17.2 12.3 7 -28.5
4.เครื่องแต่งกายและเข็มขัด 1.1 1 1 1.2 1.2 1.1 10 -8.3
5.หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ 75.8 55.5 55.3 48.8 44.5 50.8 -8.5 14.2
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ส่วนประกอบรองเท้า รองเท้ากีฬา และรองเท้า
หนัง เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.3 5.4 และ 4.3 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ และรองเท้าอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -13.7
และ -7.1
ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.71 21.18 และ 20.0
ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น และเดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 32.6 11.3 6.5 5.7
และ 4.9 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ผลิตภัณฑ์ที่
เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าถือ และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 4.5 และ 1.9 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษ
สตางค์ ลดลงร้อยละ -12.7
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -14.1 ลดลงทุกผลิตภัณฑ์ คือ กระเป๋าเดินทาง กระเป๋าใส่เศษสตางค์ กระเป๋า
ถือ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -25.5 -9.4 -8.0 และ -1.8 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ฝรั่งเศส แคนาดา และ
อิตาลี เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.3 19.1 และ 18.8 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เยอรมนี และฝรั่งเศส
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่ 2 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ
0.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก และหนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 และ 14.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ถุงมือหนัง
ของเล่นสำหรับเลี้ยง เครื่องแต่งกายและเข็มขัด ลดลงร้อยละ -28.5 -15.0 และ -8.3
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -4.1 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ ของเล่นสำหรับสัตว์ และ
หนังโคกระบือฟอก ลดลงร้อยละ -8.5 -8.1 และ -0.8 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ เครื่องแต่งกายและเข็มขัด และถุงมือหนัง เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.0 และ7.0 ตลาดส่งออกสำคัญที่ลดลง ได้แก่ เยอรมนี ไต้หวัน มาเลเซีย และเวียดนาม ลดลงร้อยละ -50.8 -45.5 -
39.5 และ -28.7 51.2 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม อินโดนีเซีย และจีนมีสัดส่วนตลาดร้อยละ 29.9
14.9 11.3 8.6 และ 8.4 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.6 เมื่อเทียบ
กับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย จีน อิตาลี และ อุรุกวัย มีสัดส่วนร้อย
ละ 11.9 10.5 7.3 7.1 และ 6.8 ตามลำดับ
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ
รายการ ---2548--- ---2549--- อัตราการเปลี่ยนแปลง
Q1 Q2 Q1 Q2 Q2(49)/Q2(48) Q2(49)/Q1(49)
หนังดิบและหนังฟอก 126.9 95.1 108.3 113.7 19.6 5
รองเท้า 18.4 12.3 24 18.6 51.2 -22.5
รองเท้ากีฬา* 3.2 na 4.9 na - -
รองเท้าหนัง 4.7 4.3 4.4 4.3 0 -2.3
รองเท้าทำด้วยยางหรือพลาสติก 1 1.5 1.3 1.2 -20 -7.7
รองเท้าอื่น ๆ 9.6 9.1 13.5 17.9 96.7 32.6
กระเป๋า 16.9 13.1 19.4 16.7 27.5 -13.9
กระเป๋าเดินทาง 4.6 4.5 4.7 5.4 20 14.9
กระเป๋าถืออื่น ๆ 12.3 8.6 14.8 11.2 30.2 -24.3
ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
* ข้อมูลจากกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศมีการปรับปรุง
รองเท้า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2549 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -22.5 เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.2 แหล่งนำเข้า คือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อิตาลี และอินเดีย มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 46.2
10.8 7.8 6.8 และ 5.6 ตามลำดับ
กระเป๋า ช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 2549 ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ -13.9 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลีฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และฮ่องกง มีสัด
ส่วนนำเข้าร้อยละ 41.8 21.6 13.6 4.1 และ 3.1 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
กล่าวโดยสรุปอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวะการผลิตหนังฟอกเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนโดยเป็นผลมาจากการนำเข้า
หนังดิบมาผลิตเป็นหนังฟอกและผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตกระเป๋าลดลงจากไตรมาสก่อนเนื่องยังคงมีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเหลืออยู่
มากเช่นเดียวกับการผลิตรองเท้าก็ลดลงจากไตรมาสก่อน เนื่องจากการส่งออกลดลง
สำหรับแนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยยังมีแนวโน้มการส่งออกที่ลดลง เนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าเช่นสหรัฐ
อเมริกา กลุ่มประเทศยุโรปและญี่ปุ่นได้ลดการนำเข้าสินค้าจากไทยเนื่องจากมีราคาสูงขึ้นตามค่าเงินบาทที่แข็งขึ้น อีกทั้งประเทศคู่แข่งที่สำคัญคือ
เวียตนาม จีน และอินเดียได้มีต่างชาติเข้าไปลงทุนมากขึ้น ทำให้สินค้าส่งออกจากไทยลดลง ส่วนการนำเข้าของไทยในสินค้าสำเร็จรูปในกลุ่มนี้ยังมี
อัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น (รองเท้าและกระเป๋า) แหล่งนำเข้าที่สำคัญและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คือ จีน จึงควรที่จะต้องมีมาตรการแก้ไขประเด็นดัง
กล่าวเพื่อมารองรับการนำเข้าสินค้าที่มีคุณภาพต่ำที่ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตและผู้บริโภคในประเทศ
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-