1. การผลิต
ในช่วงไตรมาสที่1 ปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —30.45 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.58 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —29.31 เมือเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.27 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —12.44 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —36.03
กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.97 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.45 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.24 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.06 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 67.94
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.63 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.93 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.51 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.07 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —8.58 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —24.20
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าหนัง รองเท้าแตะ และ รองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.7 4.5 4.1 และ 0.7 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ส่วนประกอบร้องเท้า ลดลง
ร้อยละ -14.9 -11.8 และ -2.7 และส่วนประกอบของรองเท้า
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -0.6 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ ส่วนประกอบรองเท้า และ รองเท้าหนัง ลดลงร้อยละ -24.7 -9.5 และ -4.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.5 และ 3.3 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ญี่ปุ่น เบลเยี่ยม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 12.9 และ12.2 ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และ เดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 32.8 11.8 6.8 6.3 และ 5.6 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 และ4.3 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ ลดลงร้อยละ -49.1 กระเป๋าถือ อัตราการขยายตัวเท่ากับ 0
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -3.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือกระเป๋าถือ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ -16.2 และ -1.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 และ 1.3 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 9.1 และ 3.3 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นสวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส มีสัดส่วนร้อยละ 25.7 14.5 14.1 7.7 และ 5.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ถุงมือหนัง และของเล่นสำหรับเลี้ยง เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.6 และ 7.5 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ และหนังโคกระบือฟอก ลดลงร้อยละ -9.7 และ -1.8 เครื่องแต่งกายและเข็มขัดอัตราการขยายตัวเท่ากับ 0
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -9.6 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และ ของเล่นสำหรับสัตว์ ลดลงร้อยละ -41.3 และ -5.9 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก ถุงมือหนัง และเครื่องแต่งกายและเข็มขัด เพิ่มขึ้นร้อยละ 87.5 18.6 และ 9.1 ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ อินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 และ 10.0 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม อินโดนีเซีย และ จีน มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 28.4 17.3 10.5 9.8 และ 7.2 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -4.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 14.7 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อิตาลี เกาหลีใต้ และอาร์เจนตินา มีสัดส่วนร้อยละ 9.8 9.6 7.9 7.5 และ 7.5 ตามลำดับ
รองเท้า ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.4 แหล่งนำเข้าสำคัญ คือ จีน อินโดนีเซีย อิตาลี มาเลเซีย และ เวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 48.8 9.6 7.1 6.7 และ 5.8 ตามลำดับ
กระเป๋า ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ10.3 เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลี ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และเบลเยี่ยม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 38.7 24.2 14.4 3.6 และ 3.1 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวการณ์ผลิตหนังฟอกลดลงจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกที่ลดลงและการส่งออกก็ลดลง การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องการส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องจากมีการส่งออกเพิ่มขึ้น มีการนำเข้ากระเป๋าและรองเท้าจากต่างประเทศเข้ามาแย่งตลาดภายในประเทศจึงควรมีมาตรการปกป้องสินค้าคุณภาพต่ำที่จะส่งผลต่อผู้บริโภค
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจมีแนวโน้มที่ลดลงเนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาอีกทั้งการแข่งขันสูงมาก ตลาดคู่แข่งที่สำคัญ คือจีนและเวียดนาม ซึ่งมีราคาค่าแรงงานที่ต่ำกว่า อีกทั้งค่าเงินบาทที่มีแน้วโน้มแข็งค่าขึ้นจะกระทบต่อการส่งออกอย่างมาก การนำเข้ารองเท้าและกระเป๋ายังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ จีน เวียดนาม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-
ในช่วงไตรมาสที่1 ปี 2549 ดัชนีอุตสาหกรรมรองเท้าและเครื่องหนังจำแนกได้ดังนี้
- การฟอกและการตกแต่งหนังฟอก ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตลดลงร้อยละ —30.45 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.58 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —29.31 เมือเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.27 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —12.44 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —36.03
กระเป๋า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 44.17 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.97 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.45 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.24 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.06 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 67.94
- รองเท้า ดัชนีผลผลิตไตรมาสที่ 1 ของปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.63 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.93 ดัชนีการส่งสินค้าเทียบกับไตรมาสก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.51 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.07 สำหรับดัชนีสินค้าสำเร็จรูปคงคลังเทียบกับไตรมาสก่อนลดลงร้อยละ —8.58 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ —24.20
2. การตลาด
การส่งออก
รองเท้าและชิ้นส่วน ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ รองเท้าอื่น ๆ รองเท้าหนัง รองเท้าแตะ และ รองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.7 4.5 4.1 และ 0.7 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ ส่วนประกอบร้องเท้า ลดลง
ร้อยละ -14.9 -11.8 และ -2.7 และส่วนประกอบของรองเท้า
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -0.6 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ รองเท้าแตะ ส่วนประกอบรองเท้า และ รองเท้าหนัง ลดลงร้อยละ -24.7 -9.5 และ -4.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ รองเท้าอื่น ๆ และรองเท้ากีฬา เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.5 และ 3.3 ตลาดสำคัญที่มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ญี่ปุ่น เบลเยี่ยม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.1 12.9 และ12.2 ตามลำดับ ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และ เดนมาร์ก มีสัดส่วนร้อยละ 32.8 11.8 6.8 6.3 และ 5.6 ตามลำดับ
เครื่องใช้เดินทาง ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าเดินทาง และเครื่องเดินทางอื่นๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 และ4.3 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ ลดลงร้อยละ -49.1 กระเป๋าถือ อัตราการขยายตัวเท่ากับ 0
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -3.2 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือกระเป๋าถือ และกระเป๋าเดินทาง ลดลงร้อยละ -16.2 และ -1.7 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ กระเป๋าใส่เศษสตางค์ และเครื่องเดินทางอื่น ๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 และ 1.3 ตามลำดับ ตลาดสำคัญที่เพิ่มขึ้นได้แก่ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 9.1 และ 3.3 ตลาดหลักที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นสวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี และฝรั่งเศส มีสัดส่วนร้อยละ 25.7 14.5 14.1 7.7 และ 5.0 ตามลำดับ
หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอกและหนังอัด ไตรมาสที่1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ ถุงมือหนัง และของเล่นสำหรับเลี้ยง เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.6 และ 7.5 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ และหนังโคกระบือฟอก ลดลงร้อยละ -9.7 และ -1.8 เครื่องแต่งกายและเข็มขัดอัตราการขยายตัวเท่ากับ 0
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ -9.6 ผลิตภัณฑ์ที่ลดลง คือ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่น ๆ และ ของเล่นสำหรับสัตว์ ลดลงร้อยละ -41.3 และ -5.9 ผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น คือ หนังโคกระบือฟอก ถุงมือหนัง และเครื่องแต่งกายและเข็มขัด เพิ่มขึ้นร้อยละ 87.5 18.6 และ 9.1 ตลาดส่งออกสำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ อินโดนีเซีย และสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 และ 10.0 ตลาดหลักที่สำคัญได้แก่ ฮ่องกง สหรัฐอเมริกา เวียดนาม อินโดนีเซีย และ จีน มีสัดส่วนตลาดร้อยละ 28.4 17.3 10.5 9.8 และ 7.2 ตามลำดับ
การนำเข้า
หนังดิบและหนังฟอก ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับ ไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าลดลงร้อยละ -4.6 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนลดลงร้อยละ 14.7 แหล่งนำเข้าที่สำคัญ คือ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อิตาลี เกาหลีใต้ และอาร์เจนตินา มีสัดส่วนร้อยละ 9.8 9.6 7.9 7.5 และ 7.5 ตามลำดับ
รองเท้า ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.4 แหล่งนำเข้าสำคัญ คือ จีน อินโดนีเซีย อิตาลี มาเลเซีย และ เวียดนาม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 48.8 9.6 7.1 6.7 และ 5.8 ตามลำดับ
กระเป๋า ไตรมาสที่ 1 ปี 2549 เทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2548 มีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ10.3 เมื่อเทียบกับปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.8 แหล่งนำเข้า คือ จีน อิตาลี ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ และเบลเยี่ยม มีสัดส่วนนำเข้าร้อยละ 38.7 24.2 14.4 3.6 และ 3.1 ตามลำดับ
3. สรุปและแนวโน้ม
อุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยมีภาวการณ์ผลิตหนังฟอกลดลงจากไตรมาสก่อนอาจเป็นผลมาจากการนำเข้าหนังดิบและหนังฟอกที่ลดลงและการส่งออกก็ลดลง การผลิตกระเป๋าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องการส่งออกเพิ่มขึ้น การผลิตรองเท้าเพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนเนื่องจากมีการส่งออกเพิ่มขึ้น มีการนำเข้ากระเป๋าและรองเท้าจากต่างประเทศเข้ามาแย่งตลาดภายในประเทศจึงควรมีมาตรการปกป้องสินค้าคุณภาพต่ำที่จะส่งผลต่อผู้บริโภค
แนวโน้มอุตสาหกรรมรองเท้าและผลิตภัณฑ์หนังของไทยอาจมีแนวโน้มที่ลดลงเนื่องจากตลาดหลักที่นำเข้าอย่างสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และกลุ่มประเทศยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาอีกทั้งการแข่งขันสูงมาก ตลาดคู่แข่งที่สำคัญ คือจีนและเวียดนาม ซึ่งมีราคาค่าแรงงานที่ต่ำกว่า อีกทั้งค่าเงินบาทที่มีแน้วโน้มแข็งค่าขึ้นจะกระทบต่อการส่งออกอย่างมาก การนำเข้ารองเท้าและกระเป๋ายังมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ จีน เวียดนาม
--สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม--
-พห-