พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตรระหว่าง 13 กรกฎาคม 2559 - 19 กรกฎาคม 2559

ข่าวทั่วไป Wednesday July 13, 2016 13:58 —กรมอุตุนิยมวิทยา

ผลกระทบของลักษณะอากาศต่อการเกษตรตามภาคต่าง ๆ

ระหว่าง 13 กรกฎาคม 2559 - 19 กรกฎาคม 2559

ภาคเหนือ

  • ข้าวนาปี : โรคไหม้
  • ไม้ดอก : โรคราน้ำค้าง โรคใบจุดสนิม
  • สัตว์เลี้ยง : ดูแลพื้นคอกอย่าให้ชื้นแฉะ ระวังสัตว์มีพิษเข้ามาอาศัยในโรงเรือน
  • ไม้ผล : ระวังโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา โดยเฉพาะโรครากเน่าโคนเน่า

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/MonthRain.php http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  • ข้าวนาปี : โรคไหม้
  • มันสำปะหลัง : โรคหัวเน่าโคนเน่า
  • สัตว์เลี้ยง : ไม่ควรปล่อยให้อยู่ในที่ชื้นแฉะเป็นเวลานาน ระวังโรคปากและเท้าเปื่อย(สัตว์กีบ)
  • เกษตรกร : สวมรองเท้าบูทขณะย่ำน้ำสกปรก(ป้องกันโรคฉี่หนู)

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/MonthRain.php http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

ภาคกลาง

  • ข้าวนาปี : ศัตรูพืชจำพวกหนอน
  • สัตว์เลี้ยง : ฤดูฝนศัตรูสัตว์ (เหลือบ ริ้น ไร เป็นต้น)เจริญเติบโตได้ดี ระวังศัตรูสัตว์มารบกวนสัตว์เลี้ยง
  • ไม้ดอก : โรคแอนแทรกโนส โรคจุดสนิม

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/MonthRain.php http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

ภาคตะวันออก

  • ไม้ผล : สภาพอากาศและดินมีความชื้นสูงระวังป้องกัน โรคที่เกิดจากเชื้อรา โรครากเน่าโคนเน่า โรคใบติด(ทุเรียน)
  • สัตว์น้ำในบ่อเลี้ยง : ไม่ควรให้น้ำฝนไหลลงบ่อ เปิดเครื่องตีน้ำหลังฝนตก
  • พริกไทย : ดินมีความชื้นสูง ควรระวังโรครากเน่า
  • สับปะรด : ระวังโรคยอดเน่า

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/MonthRain.php http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก)

  • ไม้ผล : ระวังศัตรูพืชจำพวกหนอน ตัดผลที่มีโรคและศัตรูพืชทำลาย และนำไปกำจัด โดยเผาหรือฝังให้ลึก
  • กาแฟ : โรคราสนิม
  • ยางพารา : โรครากขาว โรคราสีชมพู โรคเส้นดำ โรคใบยางร่วงลูกยางเน่า
  • ปาล์มน้ำมัน : โรคยอดเน่า

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก)

  • กาแฟ : ฝั่งตะวันตก โรคราสนิม
  • ยางพารา : ฝั่งตะวันตกโรครากขาว โรคราสีชมพู โรคเส้นดำ โรคใบยางร่วงลูกยางเน่า
  • ปาล์มน้ำมัน : ฝั่งตะวันตก โรคยอดเน่า
  • สัตว์น้ำ (ประมงชายฝั่ง) : ฝั่งตะวันตก ผู้ที่เลี้ยงสัตว์น้ำบริเวณชายฝั่งควรระวังความเสียหายจากสภาวะคลื่นลมแรง ชาวเรือบริเวณทะเลอันดามันตอนบน ควรเดินเรือด้วยความระมัดระวัง

หมายเหตุ http://www.arcims.tmd.go.th/dailydata/PET7day.php

ปริมาณฝนสะสมเดือนกรกฎาคม (1 – 12) ฝนที่ตกสะสมในระยะนี้ทั่วประเทศยังคงมีฝนตกต่อเนื่องจากเดือนมิถุนายน ซึ่งพอเพียงกับการเพาะปลูกพืช ยกเว้นบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน บางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนและภาคใต้ตอนล่าง ที่ยังมีปริมาณฝนไม่มาก ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช เกษตรกรควรให้น้ำเพิ่มเติม ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาทั่วประเทศมีฝนตกโดยทั่วไป โดยเฉพาะบางพื้นที่ของภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนบางพื้นที่ของภาคใต้ตอนล่าง และบางพื้นที่ของภาคใต้ ตอนบนยังคงมีฝนตกน้อย โดยจะมีฝนสะสมต่ำกว่า 20 มม.

ศักย์การคายระเหยน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง บางพื้นที่ของภาคตะวันออก และบางพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง มีค่าศักย์การคายระเหยน้ำสะสมสูงกว่าบริเวณอื่นๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าประมาณ 25 - 35 มม.

สมดุลน้ำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก

คำแนะนำ : ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก และในช่วง 7 วันข้างหน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องและบางพื้นที่จะมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อพืชที่อยู่ในระยะเจริญเติบโตและเจริญเติบโตทางผล แต่เกษตรกรควรระวังและป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และศัตรูพืชจำพวกหนอน สำหรับพื้นที่การเกษตรที่เป็นที่ลุ่มเกษตรควรจัดระบบระบายน้ำในแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันน้ำท่วมขังเมื่อมีฝนตก

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กรมอุตุนิยมวิทยา 0-2399-4568-74


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ