รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์-(Weekly) ณ 22 เม.ย. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Monday April 25, 2022 15:11 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

Executive Summary

1 1

? จำนวนนักท่องเที่ยวต่ำงชำติที่เดินทำงเข้ำมำไทยในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ

3,029.5 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตสินค้ำเกษตรกรรมในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 4.9 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีรำคำสินค้ำเกษตรกรรม ขยำยตัวที่ร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? กำรเบิกจ่ำยงบประมำณรวมในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 5.5 ต่อปี

? รัฐบำลจัดเก็บรำยได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65

ขยำยตัวที่ร้อยละ 0.9 ต่อปี

? ฐำนะกำรคลังของรัฐบำลตำมระบบกระแสเงินสดในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65 ขำดดุล

จำนวน -96,790 ล้ำนบำท

? ภำษีมูลค่ำเพิ่มที่รัฐบำลจัดเก็บได้ ณ ระดับรำคำคงที่ในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ

1.1 ต่อปี

? ภำษีจำกกำรทำธุรกรรมอสังหำริมทรัพย์ในเดือน มี.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -14.6 ต่อปี

? ปริมำณกำรจำหน่ำยรถยนต์นั่งในเดือน มี.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -1.4 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ปริมำณกำรจำหน่ำยรถยนต์เชิงพำณิชย์ในเดือน มี.ค. 65 มีจำนวน 57,474 คัน ขยำยตัวที่

ร้อยละ 15.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ปริมำณกำรจำหน่ำยปูนซีเมนต์ภำยในประเทศเดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ -2.7 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน

ภำคกำรเงิน

? ระดับสินทรัพย์สภำพคล่องของธนำคำรพำณิชย์ในเดือน ก.พ. 65 คิดเป็น 1.90 เท่ำของ

สินทรัพย์สภำพคล่องที่ต้องดำรงตำมกฎหมำย

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

เดือน มี.ค. 65จำนวนนักท่องเที่ยวชำวต่ำงชำติที่เดินทำงเข้ำมำในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจำกเดือนก่อนหน้ำจำกกำรเปิดให้ลงทะเบียน Thailand PassPassอย่ำงต่อเนื่อง ขณะที่กำรท่องเที่ยวภำยในประเทศยังคงขยำยตัวได้จำกอำนิสงค์ของโครงกำรเรำเที่ยวด้วยกันและทัวร์เที่ยวไทย

จำนวนนักท่องเที่ยวชำวต่ำงชำติ (คน)

3

จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชำวไทย (ล้ำนคน)

ในเดือน มี.ค. 65นักท่องเที่ยวชำวต่ำงชำติเดินทำงเข้ำประเทศไทย จำนวน 210,836 คน โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจำกประเทศสหรำชอำณำจักร เยอรมนี ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกำ และอินเดีย ตำมลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่ำ จำนวนนักท่องเที่ยวขยำยตัวสูงที่ร้อยละ 3,029.5 ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจำกปัจจัยฐำนต่ำ อย่ำงไรก็ตำม เมื่อขจัดผลทำงฤดูกำลแล้วพบว่ำยังขยำยตัวได้ที่ร้อยละ 56.3 สะท้อนถึงกำรขยำยตัวต่อเนื่องของ กำรท่องเที่ยวของชำวต่ำงชำติ ทั้งนี้ จำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจำกเดือนก่อนเหน้ำเป็นผลมำจำก กำรกลับมำให้ กำรลงทะเบียน Thailand PassPassต่อเนื่องนับตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 65 เป็นต้นมำ รวมถึงอำนิสงค์ของโครงกำร Travel BubbleBubbleระหว่ำงไทยกับอินเดีย ขณะที่ประเทศใกล้เคียง เช่นอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนำม และกัมพูชำ ได้มีกำรผ่อนคลำยมำตรกำรกำรเดินทำงระหว่ำงประเทศ มำกขึ้น ทำให้มีสัญญำณกำรฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวจำกประเทศข้ำงต้น

กำรท่องเที่ยวของชำวไทย สะท้อนจำกจำนวนผู้เยี่ยมเยือนชำวไทยในเดือน มี.ค. 64มีจำนวน 15.4ล้ำนคน เพิ่มจำกเดือนก่อนเล็กน้อย โดยคิดเป็นกำรขยำยตัวในอัตรำชะลอที่ร้อยละ 42.4 ต่อปี ท่ำมกลำงจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 รำยใหม่ในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น อย่ำงไรก็ตำม เมื่อขจัดผลทำงฤดูกำลแล้วพบว่ำ ยังขยำยตัวได้ที่ร้อยละ 26.6 เนื่องจำกส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจำกโครงกำร ?เรำเที่ยวด้วยกัน? และ?ทัวร์เที่ยวไทย? สะท้อนว่ำ กำรท่องเที่ยวภำยในประเทศยังคงขยำยตัวได้

ที่มำ : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬำ

Indicators

(%yoy)

2021

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้ำเกษตรกรรม

ในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 4.9

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือคิดเป็นกำรหดตัวร้อยละ -7.1

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลัง

ขจัดผลทำงฤดูกำล

หำกพิจำรณำรำยหมวดผลผลิตสินค้ำเกษตรในเดือน

มี.ค. 65 พบว่ำ ดัชนีผลผลิตสินค้ำเกษตรกรรมขยำยตัว

ในหมวดพืชผลสำคัญและหมวดประมงที่ร้อยละ 8.6 และ

3.3 ตำมลำดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์หดตัว

ที่ร้อยละ -2.6 โดยสินค้ำเกษตรสำคัญที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น

ได้แก่ ข้ำวเปลือก ยำงพำรำ อ้อย ปำล์มน้ำมัน กลุ่มไม้ผล

ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขำวแวนนำ ไม ขณะที่สินค้ำสำคัญที่มี

ผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้ำวโพด มันสำปะหลัง และสุกร

ดัชนีรำคำสินค้ำเกษตรกรรม

ในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 8.8

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือคิดเป็นกำรขยำยตัวร้อยละ 10.0

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลัง

ขจัดผลทำงฤดูกำล

หำกพิจำรณำรำยหมวดรำคำสินค้ำเกษตรในเดือน มี.ค.

65 พบว่ำ ดัชนีรำคำสินค้ำเกษตรขยำยตัวในทุกหมวด

สินค้ำ โดยหมวดพืชผลสำคัญ หมวดปศุสัตว์ และหมวด

ประมงขยำยตัวที่ร้อยละ 7.2 13.5 และ 10.8 ตำมลำดับ

โดยสินค้ำเกษตรสำคัญที่รำคำเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยำงพำรำ

มันสำปะหลัง ข้ำวโพด ปำล์มน้ำมัน กลุ่มไม้ผล หมวด

ปศุสัตว์ และหมวดประมง ขณะที่สินค้ำที่รำคำลดลง ได้แก่

ข้ำวเปลือก

Indicators

(%yoy)

2021 2022

Q4 ทั้งปี Q1 Feb Mar YTD

ดัชนีผลผลิตสินค้ำเกษตร -1.5 0.7 4.7 8.8 4.9 4.7

%mom_sa, %qoq_sa 0.8 - -2.1 4.4 -7.1 -

ดัชนีรำคำสินค้ำเกษตร -4.3 3.0 4.7 0.4 8.8 4.7

%mom_sa, %qoq_sa 4.5 - 9.4 -2.7 10.0 -

4

ที่มำ : สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร

รำยได้เกษตรที่แท้จริง

( หัก ผ ล ข อ ง เ งิน เ ฟ้อ

ชุด ช น บ ท ) ใ น เ ดือ น

มี. ค . 6 5 ข ย ย ตัว

ที่ร้อ ย ล 7 . 6 จ ก

อ้อ ย ป ล์ม น้ำ มัน

ก ลุ่ม ไ ม้ผ ล ห ม ว ด

ป ศุสัต ว์ แ ล ห ม ว ด

7.6 ประมง

-0.3

0.0

0.0

0.2

0.3

0.8

0.8

2.6

7.8

-1.0 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 8.0 9.0

Real Farm Income

ข้าวเปลือก

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

มันสาปะหลัง

ยางพารา

หมวดประมง

หมวดปศุสัตว์

กลุ่มไม้ผล

ปาล์มน้ามัน

อ้อย

แหล่งที่มาของการขยายตัวของรายได้เกษตรกรที่แท้จริงในเดือนมีนา

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

กำรเบิกจ่ำยงบประมำณรวมในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65 เบิกจ่ำยได้ทั้งสิ้น 293,875 ล้ำนบำท

ขยำยตัวร้อยละ 5.5 ต่อปี ทำให้ 6 เดือนแรกเบิกจ่ำยได้ 1,723,070 ล้ำนบำท ขยำยตัวร้อยละ

2.2 คิดเป็นอัตรำเบิกจ่ำยสะสมที่ร้อยละ 51.7

รัฐบำลจัดเก็บรำยได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท .) ในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65

ได้ 171,061 ล้ำนบำท ขยำยตัวร้อยละ 0.9 ต่อปี ทำให้ 6 เดือนแรกจัดเก็บได้ 1,091,156 ล้ำน

บำท ขยำยตัวร้อยละ 6.8 ต่อปี

5

โดยรำยได้รัฐบำลในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวจำกภำษีมูลค่ำเพิ่มที่ขยำยตัวร้อยละ 7.5 ต่อปี ซึ่งขยำยตัวตำม

กำรนำเข้ำที่ขยำยตัว ภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ ขยำยตัวร้อยละ 14.5 ต่อปี เนื่องจำกปีก่อนมีกำรขยำยเวลำ

กำรยื่นแบบแสดงรำยกำรและชำระภำษีออกไป และเงินนำส่งรัฐของรัฐวิสำหกิจที่ขยำยตัวร้อยละ 74.8 ต่อปี

ที่มำ : กรมสรรพำกร คำนวณโดย สศค.

โดย (1) รำยจ่ำยปีปัจจุบัน เบิกจ่ำยได้

272,322 ล้ำนบำท ขยำยตัวร้อยละ 5.3

ต่อปี คิดเป็นอัตรำเบิกจ่ำยสะสมที่ร้อยละ

51.3 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รำยจ่ำย

ประจำ 231,343 ล้ำนบำท ขยำยตัวร้อยละ

9.2 ต่อปี คิดเป็นอัตรำเบิกจ่ำยสะสมที่

ร้อยละ 56.2 และ (1.2) รำยจ่ำยลงทุน

40,980 ล้ำนบำท หดตัวร้อยละ -12.0

ต่อปี คิดเป็นอัตรำเบิกจ่ำยสะสมที่ร้อยละ

3 1 . 1 ( 2 ) ร ย จ่ำ ย ปีก่อ น เ บิก จ่ำ ย ไ ด้

21,553 ล้ำนบำท ขยำยตัวที่ร้อยละ 7.7

ต่อปี คิดเป็นอัตรำเบิกจ่ำยสะสมที่ร้อยละ

56.4 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐำนะกำรคลังของรัฐบำลตำมระบบกระแสเงินสดในเดือน มี.ค. ปีงบประมำณ 65 พบว่ำ

ดุลเงินงบประมำณขำดดุลจำนวน -96,790 ล้ำนบำท

โดยดุลนอกงบประมำณขำดดุล -6,191 ล้ำนบำท ดุลเงินสดก่อนกู้ขำดดุล -102,981 ล้ำนบำท ทั้งนี้ ในเดือนนี้

รัฐบำลมีกำรกู้เงิน 45,248 ล้ำนบำท ทำให้ดุลเงินสุดหลังกู้ขำดดุล -57,733 ล้ำนบำท และจำนวนเงินคงคลัง

ปลำยงวดอยู่ที่ 360,855 ล้ำนบำท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภำษีมูลค่ำเพิ่มที่รัฐบำลจัดเก็บได้ ณ ระดับรำคำคงที่ในเดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ

1.1 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลังขจัดผลทำงฤดูกำล ขยำยตัวที่ร้อยละ 1.3

โดยเป็นขยำยตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13 แบ่งเป็นภำษีมูลค่ำเพิ่มที่จัดเก็บจำกกำรใช้จ่ำยภำยในประเทศ หดตัวที่

ร้อยละ -16.6 ต่อปี โดยเป็นผลจำกมำตรกำรรักษำระดับกำรบริโภคของประเทศที่สิ้นสุดลงในเดือน ก .พ. 65

อำทิ ช็อปดีมีคืน และมำตรกำรอื่น ๆ ที่กำลังจะสิ้นสุดลงในเดือน เม.ย. 65 ประกอบกับปัญหำค่ำครองชีพและ

รำคำสินค้ำพลังงำนที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจำกนี้ สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรัสสำยพันธุ์โอมิครอนที่แพร่

ระบำดอย่ำงรวดเร็ว ส่งผลให้กำรบริโภคภำยในประเทศชะลอตัวลง ขณะที่ภำษีมูลค่ำเพิ่มที่จัดเก็บจำกกำรนำเข้ำ

ยังคงขยำยตัวอย่ำงต่อเนื่องที่ร้อยละ 29.0 ต่อปี ตำมกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจและทิศทำงกำรนำเข้ำของประเทศ

ที่ขยำยตัวได้ดี

7

ที่มำ : กรมสรรพำกร คำนวณโดย สศค.

Indicators

(%yoy)

2021 2022

Q4 ทั้งปี Q1 Feb Mar YTD

ภำษีมูลค่ำเพิ่ม ณ ระดับ

รำคำคงที่

17.7 12.1 14.0 27.7 1.1 14.0

%mom_sa, %qoq_sa 1.8 - 1.7 1.3 1.3 -

ภำษีจำกกำรทำธุรกรรมอสังหำริมทรัพย์ในเดือน มี.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -14.6 ต่อปี

และหดตัวร้อยละ -14.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลังปรับผลทำงฤดูกำล

กำรจัดเก็บภำษีจำกกำรทำธุรกรรมอสังหำริมทรัพย์ในเดือน มี.ค. 65 กลับมำหดตัวครั้งแรกในรอบ 5 เดือน

ตำมกำรหดตัวของกำรจัดเก็บภำษีธุรกิจเฉพำเป็นสำคัญ โดยมีปัจจัยสำคัญจำกกำรแพร่ระบำดของไวรัส

COVID-19 ที่พบผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น รวมถึงควำมกังวลต่อสถำนกำรณ์ควำมขัดแย้งระหว่ำง

รัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้รำคำน้ำมันโลกมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น กระทบกับต้นทุนกำรผลิตและขนส่งสินค้ำ ทำให้

ผู้บริโภคมีควำมกังวลต่อภำระค่ำครองชีพ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมำณกำรจำหน่ำยรถยนต์นั่งในเดือน มี.ค. 65 มีจำนวน 29,771 คัน หดตัวที่ร้อยละ -1.4 เมื่อ

เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลังขจัดผลทำงฤดูกำล ขยำยตัวที่

ร้อยละ 10.2

โดยเป็นผลจำกกำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรัสสำยพันธุ์โอมิครอนที่แพร่ระบำดอย่ำงรวดเร็ว ประกอบกับ

รำคำน้ำมันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงที่ผ่ำนมำ ส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอกำรตัดใจซื้อรถยนต์ออกไปก่อน

อย่ำงไรก็ดี กิจกรรมส่งเสริมกำรขำยในงำนบำงกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 43 ที่จัดขึ้นระหว่ำง

วันที่ 23 มี.ค. ถึง 3 เม.ย. 65 คำดว่ำจะช่วยกระตุ้นตลำดรถยนต์ให้กลับมำฟื้นตัวอีกครั้ง

8

ที่มำ : บริษัท โตโยต้ำ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด และสภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

Indicators

(%yoy)

2021 2022

Q4 ทั้งปี Q1 Feb Mar YTD

ยอดขำยรถยนต์นั่ง -17.7 -10.1 16.0 19.1 -1.4 16.0

%mom_sa,

%qoq_sa

12.5 - 23.8 0.7 10.2 -

ปริมำณกำรจำหน่ำยรถยนต์เชิงพำณิชย์ในเดือน มี.ค. 65 มีจำนวน 57,474 คัน ขยำยตัวร้อยละ

15.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่หดตัวร้อยละ -4.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลัง

ปรับผลทำงฤดูกำล ตำมปริมำณกำรจำหน่ำยรถกระบะ 1 ตัน ที่ขยำยตัวร้อยละ 21.7 และ -2.5

ตำมลำดับ

ยอดจำหน่ำยรถยนต์เชิงพำณิชย์เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 เมื่อเทียบรำยปี แต่หดตัวลง

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังปรับผลทำงฤดูกำล โดยมีปัจจัยหนุนจำกกำรฟื้นตัวของกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ

กำรเยียวยำผู้ได้รับผลกระทบจำกกำรระบำดของโควิด 19 กำรกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบำล รวมถึงกำรจัด

กิจกรรมกำรแสดงสินค้ำรถยนต์ Motor Show 2022 ที่มียอดจองเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.6 เมื่อเทียบกับปี 64

อย่ำงไรก็ดี จำนวนผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตจำกโควิด-19 ที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งรำคำสินค้ำ วัตถุดิบต่ำง ๆ และ

พลังงำนที่สูงขึ้นจำกสงครำมยูเครน-รัสเซีย เป็นปัจจัยสำคัญทำให้เศรษฐกิจอำจชะลอตัวลง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

9

เครื่องชี้ภำคกำรเงิน

ระดับสินทรัพย์สภำพคล่องของธนำคำรพำณิชย์ในเดือน ก.พ. 65 คิดเป็น 1.90 เท่ำของสินทรัพย์

สภำพคล่องที่ต้องดำรงตำมกฎหมำย

โดยยอดคงค้ำงสินทรัพย์สภำพคล่องของธนำคำรพำณิชย์ทั้งระบบในเดือน ก .พ. 65 อยู่ที่ 5.5 ล้ำนล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำ ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์กำรดำรงสินทรัพย์สภำพคล่องของธนำคำรพำณิชย์จำกเกณฑ์เดิมที่ต้องดำรงสินทรัพย์สภำพ

คล่องไม่ต่ำกว่ำร้อยละ 6 ของเงินรับฝำกเป็นไม่ต่ำกว่ำร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่ำ) ของประมำณกำรกระแสเงินสดไหลออกสุทธิใน

สภำวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR) ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย

Liquidity Coverage Ratio

ที่มำ : 3 บริษัทเอกชน คำนวณ โดย สศค.

ปริมำณกำรจำหน่ำยปูนซีเมนต์ภำยในประเทศเดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ -2.7 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -0.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ำหลังหักผลทำงฤดูกำล

Cement Sales

-2.7

-0.5

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0

25.0

Jan-20

Mar-20

May-20

Jul-20

Sep-20

Nov-20

Jan-21

Mar-21

May-21

Jul-21

Sep-21

Nov-21

Jan-22

Mar-22

%YoY %MoM_Sa

โดยในเดือน มี.ค. 65 ยอดจำหน่ำยปูนซีเมนต์หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และชะลอลงเล็กน้อยจำก

เดือนก่อนหลังหักผลของฤดูกำล โดยมีปัจจัยสำคัญจำกรำคำขำยที่ปรับเพิ่มขึ้นตำมต้นทุนวัตถุดิบและพลังงำนเป็น

สำคัญ ประกอบกับภำพรวมกำรก่อสร้ำงมีแนวโน้มชะลอลง จำกต้นทุนกำรก่อสร้ำงที่เพิ่มขึ้น ซึ่งได้รับผลกระทบ

จำกสถำนกำรณ์ควำมขัดแย้งระหว่ำงยูเครน- รัสเซีย

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่ำงประเทศ

สหรัฐฯ

ยอดสร้ำงบ้ำนใหม่ เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวร้อยละ 0.3 จำกเดือนก่อนหน้ำ (ขจัดผลทำง

ฤดูกำลแล้ว) ชะลอลงจำกเดือนก่อนหน้ำที่ขยำยตัวร้อยละ 6.5 จำกเดือนก่อนหน้ำ (ขจัดผล

ทำงฤดูกำลแล้ว) โดยมียอดสร้ำงบ้ำนเดี่ยวและทำวน์โฮมส์ลดลงจำกเดือนก่อนหน้ำ

ยอดใบอนุญำตก่อสร้ำงบ้ำนใหม่ เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวร้อยละ 0.4 จำกเดือนก่อนหน้ำ

(ขจัดผลทำงฤดูกำลแล้ว) หลังจำกหดตัวในเดือนก่อนหน้ำที่ร้อยละ -1.6 จำกเดือนก่อนหน้ำ

(ขจัดผลทำงฤดูกำลแล้ว) เป็นผลจำกยอดใบอนุญำตก่อสร้ำงคอนโดมิเนียมที่เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำ เป็นสำคัญ

ยอดขำยบ้ำนมือสอง เดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ 2.7 จำกเดือนก่อนหน้ำ (ขจัดผลทำง

ฤดูกำลแล้ว) ชะลอลงจำกเดือนก่อนหน้ำที่หดตัวร้อยละ -8.6 จำกเดือนก่อนหน้ำ (ขจัดผลทำง

ฤดูกำลแล้ว) เนื่องจำกตลำดที่อยู่อำศัยเริ่มรับรู้ถึงผลกระทบของอัตรำกำรจำนองที่เพิ่มขึ้นและ

อัตรำเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง

จำนวนผู้ขอรับสวัสดิกำรว่ำงงำนครั้งแรกรำยสัปดำห์ (10-16 เม.ย. 65) อยู่ที่ระดับ 1.84

แสนรำย ปรับตัวลดลงจำกสัปดำห์ก่อนหน้ำที่ระดับ 1.86 แสนรำย บ่งชี้ถึงควำมแข็งแกร่งของ

ตลำดแรงงำนสหรัฐฯ ขณะที่จำนวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิกำรว่ำงงำนระยะเฉลี่ย 4 สัปดำห์

(4 week moving average) ซึ่งขจัดควำมผันผวนรำยสัปดำห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจำก

สัปดำห์ก่อนมำอยู่ที่ 1.77 แสนรำย

GDP ไตรมำส 1 ปี 65 ขยำยตัวร้อยละ 4.8 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจำกไตรมำสก่อน

หน้ำที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นกำรขยำยตัวที่ร้อยละ 1.3 เมื่อ

เทียบจำกไตรมำสก่อนหน้ำ (ขจัดผลทำงฤดูกำลแล้ว) ท่ำมกลำงควำมเสี่ยงจำกกำรแพร่ระบำด

ระลอกล่ำสุดที่รุนแรงและมำตรกำรควบคุมกำรแพร่ระบำดที่เข้มงวด ประกอบกับกำรชะลอตัว

ของภำคอสังหำริมทรัพย์ที่ยังคงอยู่ และควำมไม่แน่นอนจำกวิกฤตยูเครนที่เพิ่มมำกขึ้น

ผลผลิตภำคอุตสำหกรรม เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวร้อยละ 5.0 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน

ชะลอลงจำก 2 เดือนก่อนหน้ำที่อยู่ที่ร้อยละ 7.5 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจำกกำร

กลับมำแพร่ระบำดของไวรัสโควิด-19 และหำกคิดเป็นไตรมำสพบว่ำ ดัชนีฯ ในไตรมำสที่ 1 ปี 65

ขยำยตัวเร่งขึ้นจำกไตรมำสก่อนมำอยู่ที่ร้อยละ 6.5 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดค้ำปลีก เดือน มี.ค. 65 หดตัวร้อยละ 3.5 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจำกขยำยตัว

ในเดือน ก.พ. 65 ที่ร้อยละ 6.7 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยกำรบริโภคหดตัวลงท่ำมกลำง

กำรแพร่ระบำดระลอกใหม่ที่น่ำเป็นกังวล ทั้งนี้เมื่อพิจำรณำไตรมำสแรกของปี 65 พบว่ำยอดค้ำ

ปลีกขยำยตัวร้อยละ 3.3 จำกช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตรำกำรว่ำงงำนในพื้นที่เขตเมือง เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.8 ของกำลังแรงงำนรวม เร่งขึ้น

จำกเดือนก่อนหน้ำที่ร้อยละ 5.5 ของกำลังแรงงำนรวม และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน

มิ.ย. 63

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่ำงประเทศ

11

ที่มำ: ฐำนข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

อัตรำว่ำงงำน เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.0 ของกำลังแรงงำนรวม เพิ่มขึ้นจำกเดือนก่อนหน้ำที่อยู่

ที่ร้อยละ 4.5 ของกำลังแรงงำนรวม และเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 64

ฮ่องกง ยูโรโซน

มูลค่ำกำรส่งออก เดือน ก.พ. 65 ขยำยตัวร้อยละ 17.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลง

จำกเดือนก่อนหน้ำที่ขยำยตัวอยู่ที่ร้อยละ 19.7 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่ำกำรนำเข้ำ เดือน ก.พ. 65 ขยำยตัวร้อยละ 38.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจำก

เดือนก่อนหน้ำที่ขยำยตัวร้อยละ 45.1 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลกำรค้ำ เดือน ก.พ. 65 ขำดดุลที่ระดับ 7.6 พันล้ำนยูโร ขำดดุลลดลงจำกเดือนก่อนหน้ำที่ขำดดุล

ที่ระดับ 27.3 พันล้ำนยูโร

ผลผลิตอุตสำหกรรม เดือน ก.พ. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 2.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน พลิก

กลับมำขยำยตัวหลังจำกที่หดตัวที่ร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ในเดือน ม.ค. 65 และ

ขยำยตัวมำกกว่ำที่ตลำดคำดกำรณ์ไว้ว่ำจะขยำยตัวที่ร้อยละ 1.5

มูลค่ำกำรส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 13.9 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ร้อยละ 22.1 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่ำกำรนำเข้ำ เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 21.9 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ร้อยละ 19.5 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลกำรค้ำ เดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 4.17 พันล้ำนดอลลำร์สิงคโปร์ลดลงจำกเดือนก่อนหน้ำที่เกินดุล

8.28 พันล้ำนดอลลำร์สิงคโปร์

สิงคโปร์

มูลค่ำกำรส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 44.4 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ขยำยตัวที่ร้อยละ 34.2 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่ำกำรนำเข้ำ เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 30.9 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ร้อยละ 25.4 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลกำรค้ำ เดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 4.5 พันล้ำนดอลลำร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจำกเดือนก่อนหน้ำที่เกินดุล

3.8 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ

ธนำคำรกลำงอินโดนีเซียประกำศคงอัตรำดอกเบี้ยนโยบำยที่ร้อยละ 3.5 ต่อปี

อินโดนีเซีย

มูลค่ำกำรส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 25.4 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ขยำยตัวที่ร้อยละ 16.8 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่ำกำรนำเข้ำ เดือน มี.ค. 65 ขยำยตัวที่ร้อยละ 29.9 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจำกเดือน

ก่อนหน้ำที่ร้อยละ 18.3 จำกช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลกำรค้ำ เดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 26.7 พันล้ำนมำเลเซียริงกิต เพิ่มขึ้นจำกเดือนก่อนหน้ำที่เกินดุล

19.8 พันล้ำนมำเลเซียริงกิต

เครื่องชี้ตลำดเงิน ตลำดอัตรำแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 21

Apr 22 1w %chg

1m %chg

YTD %chg

Avg 2021 %chg

USD/THB

33.83

-

0.43 -

1.09 -

1.54 -

5.69

USD/JPY

128.03

-

2.15 -

7.71 -

10.62 -

16.54

EUR/USD

1.08

-

0.44 -

1.88 -

3.98 -

8.43

USD/MYR

4.29

-

1.38 -

2.07 -

2.52 -

3.42

USD/KRW

1,237.10

-

0.77 -

2.15 -

3.89 -

8.10

USD/SGD

1.37

-

0.95 -

0.72 -

0.81 -

1.63

USD/CNY

6.41

-

0.88 -

0.66 -

0.48 0.65

NEER

109.12

0.39

0.92

1.40

-

1.04

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจำกสัปดำห์ก่อนสอดคล้องกับตลำดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภำคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจำกสัปดำห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) JCI อินโดนีเซีย) และ DJIA สหรัฐอเมริกำ) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2121เม.ย. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,69090.5555จุด ด้วยมูลค่ำซื้อขำยเฉลี่ยระหว่ำงวันที่ 1818-2121เม.ย. 655อยู่ที่ 69,749.24 ล้ำนบำทต่อวัน โดยนักลงทุนต่ำงชำติ และนักลงทุนสถำบันในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขำยสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่ำงวันที่ 1818-2121เม.ย. 655นักลงทุนต่ำงชำติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 44,220220.6262ล้ำนบำท

อัตรำผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบำลอำยุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 31 bpsbpsโดยในสัปดำห์นี้นักลงทุนมีกำรประมูลพันธบัตรรัฐบำลอำยุ 33และ 2222ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 0.440.44และ 1.111.11เท่ำของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่ำงวันที่ 1818-2121เม.ย. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่ำงชำติ ไหลออกจำกตลำดพันธบัตรสุทธิ 1010,76767.18 ล้ำนบำทและหำกนับจำกต้นปีจนถึงวันที่ 2121เม.ย. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่ำงชำติ ไหลเข้ำในตลำดพันธบัตรสุทธิ 1818,848848.7070ล้ำนบำท

เงินบำทอ่อนค่ำลงจำกสัปดำห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2121เม.ย. 655เงินบำทปิดที่ 33.833.83บำทต่อดอลลำร์สหรัฐ อ่อนค่ำลงร้อยละ 0.430.43จำกสัปดำห์ก่อนหน้ำ สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภำค อำทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต วอน ดอลลำร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่ำลงจำกสัปดำห์ก่อนหน้ำ เมื่อเทียบกับดอลลำร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบำทอ่อนค่ำน้อยกว่ำเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภำคเล็กน้อย ส่งผลให้ดัชนีค่ำเงินบำท (NEERNEER) แข็งค่ำขึ้นร้อยละ 0.39 จำกสัปดำห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ